ตรวจหาสารก่อภูมิแพ้ รู้ไว ปรับตัวทัน ลดความเสี่ยง
ภูมิแพ้ เป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ไม่ว่าจะเป็นผื่นคัน น้ำมูกไหล คัดจมูก หรือหอบหืด หลายคนใช้ชีวิตอยู่กับอาการแพ้ โดยไม่รู้ว่าแพ้อะไร
การตรวจหาสารก่อภูมิแพ้ (Allergy Screening) จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการดูแลตัวเองอย่างถูกวิธี
รู้สาเหตุที่แท้จริง ไม่ต้องคาดเดา
ปรับพฤติกรรมและหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นได้ตรงจุด
ลดการใช้ยา และควบคุมอาการแพ้ได้ดีขึ้น
ป้องกันโรคแทรกซ้อน เช่น หอบหืดหรือไซนัสอักเสบ
ตรวจภูมิแพ้ รู้ให้ชัดก่อนแพ้จะลุกลาม
โรงพยาบาลวิภาวดีมีบริการ ตรวจภูมิแพ้แบบเจาะเลือด (Allergy Screening) ที่ครอบคลุมทั้งกลุ่มอาหาร อากาศ และสารก่อภูมิแพ้ทั่วไป พร้อมคำแนะนำจากแพทย์เฉพาะทาง
รายการตรวจ
1. ไข่ขาว
2. ไข่แดง
3. นมวัว
4. แป้งสาลี
5. ข้าว
6. งา
7. ถั่วเหลือง
8. ถั่วลิสง
9. เฮเซลนัท
10. เนื้อวัวปรุงสุก
11. เนื้อหมูปรุงสุก
12. เนื้อไก่ปรุงสุก
13. อาหารทะเลเปลือกแข็ง(หอยนางรม,กุ้งมังกร,หอยฝาคู่)
14. ปลาทะเลรวม(ปลาแมคเคอเรส,ค๊อด,เฮอริ่ง,เพลส)
15. ปูทะลเปลือกแข็ง
16. กุ้ง (กุ้งนาง,กุ้งลายเสือ,กุ้งทราย,กุ้งตะกาด)
17. กุ้งล็อบสเตอร์
18. ปูม้า
19. ช็อกโกแลต
20. เจลาติน
รายการตรวจ
1. ต้นไม้ผสม
2. ต้นกระถิน
3. ต้นปาล์มน้ำมัน
4. ยางพารา
5. หญ้าผสม
6. ไรฝุ่นผสม
7. แมลงสาบเยอรมัน
8. นุ่น
9. รังแค ขน น้ำลายแมว
10. รังแค ขน น้ำลายสุนัข
11. ขนนก (นกแก้ว, นกฟิกซ์, นกขมิ้น)
12. เยื่อบุหนูตะเภา
13. เยื่อบุหนูบ้าน
14. เยื่อบุกระต่าย
15. เยื่อบุหนูแฮมสเตอร์
16. เชื้อราแบบผสมชนิดที่ 1
17. เชื้อราแบบผสมชนิดที่ 2
18. เชื้อราแคนดิดา
19. เชื้อราสาย Aspergillus fumigatus
20. เชื้อราตระกูล Cladosporium
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
1. ไม่ต้องงดน้ำและอาหาร
2.งดยาแก้แพ้ก่อนการตรวจ
3. ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือด (เสื้อแขนสั้น)
4. ควรพักผ่อนให้เพียงพอก่อนเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ
รายการตรวจ
1. หญ้าแพรก
2. หญ้าทิโมธี
3. เกสรหญ้าพง, หญ้าปล้อง
4. รังแค ขน น้ำลายแมว
5. รังแค ขน น้ำลายสุนัข
6. เยื่อบุผิวหนังหนูแฮมสเตอร์
7. ไรฝุ่นในบ้านชนิดเทอโรนี
8. ไรฝุ่นในบ้านชนิดฟารานี
9. แมลงสาบสายพันธุ์เยอรมัน
10. แมลงสาบสายพันธุ์อเมริกัน
11. เชื้อราคลาโดสเปอเรียม เฮอบารัม
12. เชื้อราแอสเปอจิรัส ฟูมิกาตัส
13. เชื้อราอัลเทอนาเรีย อัลเทอนาตา
14. ยางพารา
15. ไข่ขาว
16. ไข่แดง
17. นมวัว
18. ปลาค๊อด(ปลาทะเล)
19. ปูทะเลเปลือกแข็ง
20. กุ้ง 4 สายพันธุ์ (กุ้งนาง/กุ้งลายเสือ/กุ้งทราย/กุ้งตะกาย)
21. ปลาแซลมอน
22. หอยนางรม
23. ปูม้า
24. ปลาหมึก
25. โปรตีนในไข่ขาวชนิดโอวัลบูมิน
26. โปรตีนในไข่ขาวชนิดโอโวมิวคอยด์
27. โปรตีนในนมวัวชนิดอัลฟ่าแลคตัลบูมิน
28. โปรตีนในนมวัวชนิดเบต้าแลคโตกลอบูลิน
29. โปรตีนในนมวัวชนิดเคซีน
30. แป้งสาลี
31. โปรตีนในแป้งสาลีชนิดกลูเตน
32. โปรตีนในถั่วลิสงชนิด Ara h 1
33. โปรตีนในถั่วลิสงชนิด Ara h 2
34. ถั่วเหลือง (Soybean)
35. ถั่วลิสง (Peanut)
36. มะพร้าว (Coconut)
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
1. ไม่ต้องงดน้ำและอาหาร
2.งดยาแก้แพ้ก่อนการตรวจ
3. ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือด (เสื้อแขนสั้น)
4. ควรพักผ่อนให้เพียงพอก่อนเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ
ตรวจหาสารก่อภูมิแพ้อาหาร โดยการเจาะเลือด
1. ไข่ขาว
2. ไข่แดง
3. นมวัว
4. แป้งสาลี
5. ข้าว
6. งา
7. ถั่วเหลือง
8. ถั่วลิสง
9. เฮเซลนัท
10. เนื้อวัวปรุงสุก
11. เนื้อหมูปรุงสุก
12. เนื้อไก่ปรุงสุก
13. อาหารทะเลเปลือกแข็ง(หอยนางรม,กุ้งมังกร,หอยฝาคู่)
14. ปลาทะเลรวม(ปลาแมคเคอเรส,ค๊อด,เฮอริ่ง,เพลส)
15. ปูทะลเปลือกแข็ง
16. กุ้ง (กุ้งนาง,กุ้งลายเสือ,กุ้งทราย,กุ้งตะกาด)
17. กุ้งล็อบสเตอร์
18. ปูม้า
19. ช็อกโกแลต
20. เจลาติน
ตรวจหาสารก่อภูมิแพ้ทางการหายใจ โดยการเจาะเลือด
1. ต้นไม้ผสม
2. ต้นกระถิน
3. ต้นปาล์มน้ำมัน
4. ยางพารา
5. หญ้าผสม
6. ไรฝุ่นผสม
7. แมลงสาบเยอรมัน
8. นุ่น
9. รังแค ขน น้ำลายแมว
10. รังแค ขน น้ำลายสุนัข
11. ขนนก (นกแก้ว, นกฟิกซ์, นกขมิ้น)
12. เยื่อบุหนูตะเภา
13. เยื่อบุหนูบ้าน
14. เยื่อบุกระต่าย
15. เยื่อบุหนูแฮมสเตอร์
16. เชื้อราแบบผสมชนิดที่ 1
17. เชื้อราแบบผสมชนิดที่ 2
18. เชื้อราแคนดิดา
19. เชื้อราสาย Aspergillus fumigatus
20. เชื้อราตระกูล Cladosporium
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
1. ไม่ต้องงดน้ำและอาหาร
2.งดยาแก้แพ้ก่อนการตรวจ
3. ควรสวมเสื้อที่สะดวกต่อการเจาะเลือด (เสื้อแขนสั้น)
4. ควรพักผ่อนให้เพียงพอก่อนเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ
***แพ็กเกจซื้อแล้วไม่รับเปลี่ยนหรือคืนเงิน***
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ศูนย์ผิวหนังและเลเซอร์ โทร 02-561-1111 ต่อ 1123-24
นโยบายความเป็นส่วนตัว | นโยบาย คุกกี้
Copyright © Vibhavadi Hospital. All right reserved